
ประวัติภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเป็นสาขาวิชาที่จัดการศึกษาโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เข้าใจการประยุกต์วิชาพื้นฐานหลัก คือ เคมีชีวภาพ จุลชีววิทยา และหลักพันธุวิศวกรรม เพื่อนำมาใช้ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงวัตถุดิบทางชีวภาพ เพื่อผลิตสารเคมีชีวภาพที่มีประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ เช่น กรดอินทรีย์ เอนไซม์ วิตามิน กรดอะมิโน สารปฏิชีวนะ แอลกอฮอล์ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการผลิตโปรตีนจากจุลินทรีย์ เป็นต้น นอกจากนี้ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพยังได้จัดการศึกษาเกี่ยวกับการบำบัดของเสียและการนำของเสียมาใช้ประโยชน์ รวมทั้งการศึกษาเกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยอาศัยความรู้ทางด้านเศรษฐศาสตร์ หลักการจัดการ และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
นิสิตซึ่งศึกษาในสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพจะเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้จุลินทรีย์และตัวเร่งทางชีวภาพสำหรับกระบวนการผลิต เข้าใจถึงกรรมวิธีการผลิตที่เหมาะสมต่อการทำงานของจุลินทรีย์ และตัวเร่งทางชีวภาพ ตลอดจนการออกแบบและควบคุมเครื่องมือซึ่งใช้ในกระบวนการผลิต
ภาควิชาฯ จัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษาในหลีกสูตรปกติ และหลักสูตรนานาชาติ ทั้งระดับปริญญาโทและปริญญาเอก เพื่อสนองตอบต่อการพัฒนาประเทศทางด้านเทคโนโลยี ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ และมีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านทางเทคโนโลยีชีวภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักสูตรนานาชาติ ยังก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ และเทคโนโลยีระหว่างประเทศด้วย
เทคโนโลยีชีวภาพเป็นสาขาวิชาที่จัดการศึกษาโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เข้าใจการประยุกต์วิชาพื้นฐานหลัก คือ เคมีชีวภาพ จุลชีววิทยา และหลักพันธุวิศวกรรม เพื่อนำมาใช้ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงวัตถุดิบทางชีวภาพ เพื่อผลิตสารเคมีชีวภาพที่มีประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ เช่น กรดอินทรีย์ เอนไซม์ วิตามิน กรดอะมิโน สารปฏิชีวนะ แอลกอฮอล์ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการผลิตโปรตีนจากจุลินทรีย์ เป็นต้น นอกจากนี้ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพยังได้จัดการศึกษาเกี่ยวกับการบำบัดของเสียและการนำของเสียมาใช้ประโยชน์ รวมทั้งการศึกษาเกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยอาศัยความรู้ทางด้านเศรษฐศาสตร์ หลักการจัดการ และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
นิสิตซึ่งศึกษาในสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพจะเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้จุลินทรีย์และตัวเร่งทางชีวภาพสำหรับกระบวนการผลิต เข้าใจถึงกรรมวิธีการผลิตที่เหมาะสมต่อการทำงานของจุลินทรีย์ และตัวเร่งทางชีวภาพ ตลอดจนการออกแบบและควบคุมเครื่องมือซึ่งใช้ในกระบวนการผลิต
ภาควิชาฯ จัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษาในหลีกสูตรปกติ และหลักสูตรนานาชาติ ทั้งระดับปริญญาโทและปริญญาเอก เพื่อสนองตอบต่อการพัฒนาประเทศทางด้านเทคโนโลยี ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ และมีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านทางเทคโนโลยีชีวภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักสูตรนานาชาติ ยังก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ และเทคโนโลยีระหว่างประเทศด้วย
เทคโนโลยีชีวภาพเป็นสาขาวิชาที่จัดการศึกษาโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เข้าใจการประยุกต์วิชาพื้นฐานหลัก คือ เคมีชีวภาพ จุลชีววิทยา และหลักพันธุวิศวกรรม เพื่อนำมาใช้ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงวัตถุดิบทางชีวภาพ เพื่อผลิตสารเคมีชีวภาพที่มีประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ เช่น กรดอินทรีย์ เอนไซม์ วิตามิน กรดอะมิโน สารปฏิชีวนะ แอลกอฮอล์ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการผลิตโปรตีนจากจุลินทรีย์ เป็นต้น นอกจากนี้ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพยังได้จัดการศึกษาเกี่ยวกับการบำบัดของเสียและการนำของเสียมาใช้ประโยชน์ รวมทั้งการศึกษาเกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยอาศัยความรู้ทางด้านเศรษฐศาสตร์ หลักการจัดการ และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
นิสิตซึ่งศึกษาในสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพจะเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้จุลินทรีย์และตัวเร่งทางชีวภาพสำหรับกระบวนการผลิต เข้าใจถึงกรรมวิธีการผลิตที่เหมาะสมต่อการทำงานของจุลินทรีย์ และตัวเร่งทางชีวภาพ ตลอดจนการออกแบบและควบคุมเครื่องมือซึ่งใช้ในกระบวนการผลิต
ภาควิชาฯ จัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษาในหลีกสูตรปกติ และหลักสูตรนานาชาติ ทั้งระดับปริญญาโทและปริญญาเอก เพื่อสนองตอบต่อการพัฒนาประเทศทางด้านเทคโนโลยี ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ และมีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านทางเทคโนโลยีชีวภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักสูตรนานาชาติ ยังก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ และเทคโนโลยีระหว่างประเทศด้วย
เทคโนโลยีชีวภาพเป็นสาขาวิชาที่จัดการศึกษาโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เข้าใจการประยุกต์วิชาพื้นฐานหลัก คือ เคมีชีวภาพ จุลชีววิทยา และหลักพันธุวิศวกรรม เพื่อนำมาใช้ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงวัตถุดิบทางชีวภาพ เพื่อผลิตสารเคมีชีวภาพที่มีประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ เช่น กรดอินทรีย์ เอนไซม์ วิตามิน กรดอะมิโน สารปฏิชีวนะ แอลกอฮอล์ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการผลิตโปรตีนจากจุลินทรีย์ เป็นต้น นอกจากนี้ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพยังได้จัดการศึกษาเกี่ยวกับการบำบัดของเสียและการนำของเสียมาใช้ประโยชน์ รวมทั้งการศึกษาเกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยอาศัยความรู้ทางด้านเศรษฐศาสตร์ หลักการจัดการ และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
นิสิตซึ่งศึกษาในสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพจะเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้จุลินทรีย์และตัวเร่งทางชีวภาพสำหรับกระบวนการผลิต เข้าใจถึงกรรมวิธีการผลิตที่เหมาะสมต่อการทำงานของจุลินทรีย์ และตัวเร่งทางชีวภาพ ตลอดจนการออกแบบและควบคุมเครื่องมือซึ่งใช้ในกระบวนการผลิต
ภาควิชาฯ จัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษาในหลีกสูตรปกติ และหลักสูตรนานาชาติ ทั้งระดับปริญญาโทและปริญญาเอก เพื่อสนองตอบต่อการพัฒนาประเทศทางด้านเทคโนโลยี ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ และมีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านทางเทคโนโลยีชีวภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักสูตรนานาชาติ ยังก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ และเทคโนโลยีระหว่างประเทศด้วย
หลักสูตร
ปริญญาโท
โครงสร้างหลักสูตร
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ แผน ก แบบ ก 1
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ แผน ก แบบ ก 2
คำอธิบายรายวิชา
หลักสูตร
ปริญญาเอก
โครงสร้างหลักสูตร
วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ แผน 1 แบบ 1.1
วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ แผน 2 แบบ 2.1
คำอธิบายรายวิชา
หลักสูตร
หลักสูตรนานาชาติ
โครงสร้างหลักสูตร
วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ (หลักสูตรนานาชาติ) แผน 1 แบบ 1.1
วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ (หลักสูตรนานาชาติ) แผน 2 แบบ 2.1
คำอธิบายรายวิชา
คณาจารย์
ผศ.ดร. ประมุข ภระกูลสุขสถิตย์ หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
M.S. (Biological System Engineering), Virginia Polytechnic Institute and State University
วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Enzyme technology
รศ.ดร. ภคมน จิตประเสริฐ รองหัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
M.S. (Chemical Engineering), University of Michigan
วท.บ.(เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Controlled-release delivery systems for bioactive compounds in feeds
รศ.ดร. ประกิต สุขใย รองหัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
M.Sc. (Biotechnology), Kasetsart University
B.Sc. (Biotechnology), Kasetsart University
The extraction of cellulose nanocrystal from agricultural residues and its utilization for scaffold, cosmetics, membrane etc. 3. The modification and synthesis of bacterial cellulose (nanocellulose, nanofibrils, nanocrystals and alignment).
Utilization of bacterial cellulose as structural framework and a carrier of bioactive compound such as turmeric, bioceramic (hydroxyapatite) and magnetic nanoparticles as scaffold for tissue repair and regeneration (bone, wound dressing, skin and face masks) and for other industrial applications.
รศ.ดร. สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล
M.Eng. (Ferment. Technology), Hiroshima University
วท.บ. (วิทยาศาสตร์การอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Fermentation technology
รศ.ดร.วิรัตน์ วาณิชย์ศรีรัตนา
Optimal controls for bioprocesses.
Experimental designs.
รศ.ดร. สุทธิพันธุ์ แก้วสมพงษ์
วท.ม. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Feed enzyme production and application
Molecular study of hydrolytic enzyme for strain improvement
Lignocellulosic ethanol
Keratinolytic enzyme production and application
ผศ.ดร. ณัฐกานต์ นิตยพัธน์
M.S. (Environmental Science), University of Strathclyde
วท.บ.(เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Anaerobic digestion
Biological wastewater treatment
ดร. สุมัลลิกา โมรากุล
วท.ม. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Alcoholic Beverages
ดร. วิลาวัลย์ สินธุประภา
M.S. (Biotechnology), King Mongkut's University of Technology Thonburi
B.S. (Microbiology), Burapa University
ดร.ธนัท อ้วนอ่อน
วท.ม. (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.บ. (ผลิตภัณฑ์ประมง) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผศ.ดร. กิติพงษ์ รัตนาภรณ์
วศ.ม. (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.บ.(เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Fermentation Technology
Recombinant Protein Expression in Plants
ผศ.ดร.อุลัยวรรณ์ วิทยเกียรติ
วท.บ.(เทคโนโลยีอาหาร)
วท.ด.(เทคโนโลยีชีวภาพ)
Probiotic beverages.
Traditional alcoholic beverages.
ผศ.ดร. มัสลิน นาคไพจิตร
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Gut Microbiota
ดร.บุญทิวา นิลจันทร์
วท.ม. (เทคโนโลยีชีวภาพ)
วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพ)
ดร.บัณฑิตา วานิกร
M.S. (Nutrition and Food Science), University of Reading
Ph.D. (Nutrition and Food Science), University of Reading
Functional Foods and Nutraceuticals
Dietary phytochemicals with potential effects in metabolic syndrome prevention and therapy
ดร.พฤกษ์ ตั้งพร้อมพันธ์
Ph.D. (Chemical Engineering), Kasetsart University.
M.Eng. (Chemical Engineering), Kasetsart University.
Extraction and purification of bioproducts.
Simulation and modelling in chemical and biological processes.
ดร.ไพบูลย์ ตั่นสกูล
วิทยาศาสตรบัณฑิต (การแพทย์แผนไทย) เกียรตินิยมอันดับสอง
ดร.นิสิต วัฒนศักดิ์ภูบาล
M.Sc. (Biotechnology)
B.Sc. (Food Science)
Protein engineering
Metabolic engineering
Fermentation technology
รศ.ดร. สุนีย์ นิธิสินประเสริฐ ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ
วท.ม.(วิทยาศาสตร์การอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.บ.(เคมี) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Antimicrobial substances of lactic acid bacteria, Microbial enzymatic system, Probiotic and prebiotic
รศ.ดร. กล้าณรงค์ ศรีรอต ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ
M.E. (Biotechnology), Technical University of Berlin
M.S. (Food Technology), University of the Philippines at Los Banos
วท.บ.(วิทยาศาสตร์การอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Sugar Technology
Ethanol Technology
รศ.ดร. วีระสิทธิ์ สรรพมงคลไชย ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ
M.Agr. (Applied Microbiology), Kagoshima University
วท.บ. (วิทยาศาสตร์การอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Industrial fermentation
Rice utilization
Environmental Biotechnology
เจ้าหน้าที่









