
ประวัติภาควิชาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีการอาหาร
ภาควิชาวิทยาศาสตร์การอาหารได้จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2507 โดยสังกัดคณะเกษตร มหาวิทยาลัย มีวัตถุประสงค์ในการก่อตั้งเพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งมุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ประโยชน์จากผลผลิตทางการเกษตรโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้อง รวมทั้งเป็นการรองรับการขยายตัวทางอุตสาหกรรม เปิดรับนิสิตตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507 เป็นหลักสูตร 5 ปี และเปลี่ยนเป็นหลักสูตร 4 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 เป็นต้นมา
ในปี พ.ศ. 2512 เปิดหลักสูตรปริญญาโท และต่อมาในวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2523 ได้ย้ายสังกัดไปอยู่คณะอุตสาหกรรมเกษตร และเปลี่ยนชื่อเป็นภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มีการเปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรีและโท สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
เมื่อปี พ.ศ. 2532 จึงเปิดหลักสูตรระดับปริญญาเอกสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เป็นแห่งแรกของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2533 ได้เปิดหลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมอาหาร
ส่วนด้านบัณฑิตศึกษา ภาควิชาได้เปิดหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การอาหาร เป็นแห่งแรก ในปี พ.ศ. 2532 และหลักสูตรปริญญาเอกร่วมสถาบัน เริ่มปีการศึกษา พ.ศ. 2542
ปรัชญา และปณิธานของภาควิชาฯ
1) ผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และสาขาวิศวกรรมอาหารให้มีความรู้ความสามารถ มีคุณธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ ออกไปรับใช้สังคมและประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้า
2) ศึกษาวิจัยและให้บริการทางวิชาการด้านอุตสาหกรรมเกษตรโดยการใช้ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และด้านวิศวกรรมอาหาร ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนและประเทศชาติ
วัตถุประสงค์ของภาควิชาฯ
1) ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และสาขาวิศวกรรมอาหาร สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม ยึดมั่นในหลักการและเหตุผล มีคุณธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ
2) ดำเนินการวิจัย เพื่อพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาการ ให้มีความเป็นเลิศและเผยแพร่ออกสู่สังคม เพื่อนำไปใช้พัฒนาประเทศ
3) บริการวิชาการแก่สังคมและทำนุบำรุงรักษาศิลปวัฒนธรรม เพื่อประโยชน์และเสริมสร้างความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ
นโยบายภาควิชาฯ
1) จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี เพื่อให้นิสิตมีความรู้หลากหลายในวิชาชีพทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการอาหาร และวิชาชีพทางวิศวกรรมอาหาร และเพื่อให้นิสิตมีทักษะทางด้านปฏิบัติ สามารถแก้ไขปัญหา รวมทั้งมีความคิดริเริ่ม และมีคุณภาพเป็นไปตามความต้องการของภาคอุตสาหกรรม
2) จัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อให้นิสิตมีความรู้เฉพาะทางในสาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการอาหารขั้นสูง และทางวิศวกรรมอาหารขั้นสูงให้สามารถทำงานเชิงวิเคราะห์วิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ และมีความรู้ในระเบียบวิธีวิจัย
3) สนับสนุนการวิจัยและพัฒนา เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาประเทศอย่างเป็นรูปธรรม
4) ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยในประเทศและต่างประเทศ หน่วยงานรัฐและ เอกชน
5) สนับสนุนการจัดฝึกอบรม / สัมมนา และการให้บริการทางวิชาการ
6) สร้างบุคลากรให้มีความรู้ / ความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง
หลักสูตร
ปริญญาตรี
โครงสร้างหลักสูตร
วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร แผน ก. (แบบปกติ)
วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร แผน ข. (แบบสหกิจศึกษา)
คำอธิบายรายวิชา
หลักสูตร
ปริญญาโท
โครงสร้างหลักสูตร
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาศาสตร์การอาหาร แผน ก แบบ ก 1
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาศาสตร์การอาหาร แผน ก แบบ ก 2
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาศาสตร์การอาหาร แผน ข
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วิศวกรรมอาหาร แผน ก แบบ ก2
คำอธิบายรายวิชา
หลักสูตร
ปริญญาเอก
โครงสร้างหลักสูตร
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต วิทยาศาสตร์การอาหาร แบบ 1.1
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต วิทยาศาสตร์การอาหาร แบบ 1.2
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต วิทยาศาสตร์การอาหาร แบบ 2.1
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต วิทยาศาสตร์การอาหาร แบบ 2.2
คำอธิบายรายวิชา
หลักสูตร
หลักสูตรนานาชาติ
โครงสร้างหลักสูตร
วท.ม.(วิทยาศาสตร์การอาหาร) แผน ก แบบ ก 1
วท.ม.(วิทยาศาสตร์การอาหาร) แผน ก แบบ ก 2
ปร.ด.(วิทยาศาสตร์การอาหาร) แบบ 1.1
ปร.ด.(วิทยาศาสตร์การอาหาร) แบบ 2.1
คำอธิบายรายวิชา
คณาจารย์
ผศ.ดร.กุลนาถ ทองขาว (หัวหน้าภาควิชาฯ)
M.Sc. (Food and Nutritional Toxicology), Mahidol University
B.Sc. (Biotechnology), Mahidol University
ผศ.ดร. กนิฐพร วังใน
Ms.C. (Food Science), Kasetsart University
Bs.C. (First Class Honours) (Food Science and Technology), Kasetsart University
Toxicants formed during processing
mycotoxins in food
Meat Science and Technology
Improving functional value and quality of meat products
ผศ.ดร.กนกรัตน์ ลิมปิโสภณ
kanokrat.l@ku.ac.th
Ms.C. (Food Science and Technology), Tokyo University of Marine Science and Technology
Bs.C. (First Class Honours) (Food Technology), Chulalongkorn University
Fishery product technology
Utilization of byproduct from food industry
Meat technology
Gelatin application
Protein-based film
ผศ.ดร. กฤษกมล ณ จอม
วท.ม. (เทคโนโลยีชีวภาพ) (นานาชาติ) มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.บ. (วิทยาศาสตร์ทั่วไป) (เกียรตินิยมอันดับ 1) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผศ.ดร. จิตศิริ ราชตนะพันธุ์ (ทองสอน)
วท.ม.(วิทยาศาสตร์การอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.บ.(จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Natural antimicrobials
รศ.ดร. น้ำฝน ลำดับวงศ์
M.S. (Food Science), Kansas State University
วท.บ. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
structure-function properties of starch and starch structure modifications for food and non-food applications
รศ.ดร. ปริศนา สุวรรณาภรณ์
M.App.Sc. (Food Science and Technology), University of New South Wales
วท.บ.(วิทยาศาสตร์การอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Marketing and consumer research of food products
Use of statistical methods for food science research
Food Processing
Cereal and Baking Technology
รศ.ดร. ปาริฉัตร หงสประภาส
M.Sc.(Food Science and Technology), University of New South Wales
วท.บ.(วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Food rheology and microstructure
Food proteins
ผศ.ดร. ปิติยา (นามวงศ์) กมลพัฒนะ
M.Eng. (Mechanical Engineering), Kasetsart University
B.Eng. (Food Engineering), King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang
Software Development of Food Processing
Development of Microbiological Protocols for Aseptic Processes
Application of Radio Frequency Identification Methodology in Food Processing
Development of Extruded Snacks Fortified with Thai Herbs
ผศ.ดร.ปัทธิมา อุดมไพจิตรกุล
M.S. (Food Science and Technology), Oregon State University, Corvallis
B.Sc.(Food Science and Technology), Kasetsart University
ดร.พิณทิพย์ รัมภกาภรณ์
Ms.C. (Food Science), Kasetsart University
Bs.C. (Food Science and Technology), Kasetsart University
Rice Starch
ผศ.ดร. มาศอุบล ทองงาม
M.Sc. (Food Science and Technology), University of Massachusetts
วท.บ.(วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ดร.เมธาวี เพียรภักดี
M.Sc. (Food Technology), Chulalongkorn University
B.Sc. (Food Science and Technology), Kasetsart University
Bioactive compounds and antioxidant activity of plant extracts
Encapsulation technology
ผศ. ดร. เยาวภา หล่อเจริญผล
M.S. (Food Science), Kasetsart University
B.S. (Food Science and Technology), Kasetsart University
Flavor analysis by instrumental and sensory measurements
รศ.ดร. วรรณี จิรภาคย์กุล
วท.บ.(วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Food additive
Flavor analysis in food
รศ.ดร. วราภรณ์ บุญทรัพย์ทิพย์
M.S.(Food Science), Rutgers, The State University of New Jersey
วท.บ.(วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Food shelf-life prediction
Food process modeling and simulation
Microbial growth prediction
ผศ.ดร. วราภา มหากาญจนกุล
วท.ม.(วิทยาศาสตร์การอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.บ.(วิทยาศาสตร์ทั่วไป) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Microbial stress response
GMP/HACCP system
Mycotoxin detection in food products
ผศ. ดร.วศะพร จันทร์พุฒ
M.Sc (Food Science), Kasetsart University
B.Sc (Biotechnology), Mahidol University
Molecular biology
Nutrigenomics
รศ.ดร. วีรเชษฐ์ จิตตาณิชย์
M.Comm. (Finance), The University of Sydney
วศ.ม. (วิศวกรรมอาหาร) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
Freezing Technology
Ohmic Heating
ผศ. ดร. ศศิธร ตรงจิตภักดี
M.S.(Food Science), University of California, Davis
วท.บ.(วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Bioactive compounds in fruits, vegetables and herbs
Functional foods and nutraceuticals
ผศ.ดร. สายพิณ ทานัชฌาสัย
M. Eng. (Chemistry and Biotechnology), The University of Tokyo
วท.บ. (เทคโนโลยีทางอาหาร) (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผศ.ดร. สาวิตรี รัตนสุมาวงศ์
M.S. (Food Science and Technology), Tokyo University of Fisheries
B.S. (Food Science and Technology), Kasetsart University (First Class Honours)
ดร.สิชญา สิทธิพจน์
M.Sc. (Grain Science and Industry), Kansas State University, USA
B.S. (Food Science and Technology), Kasetsart University
Coffee processing and chemistry
Untargeted chemical profiling coupled with multivariate statistical analysis
Cereal science
รศ.ดร. สิริชัย ส่งเสริมพงษ์
M.App.Sc. (Food Technology), University of New South Wales
วท.บ.(เทคโนโลยีทางอาหาร) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รศ.ดร. สิรี ชัยเสรี
M.S.(Food Science), Pennsylvania State University
Ph.D.(Food Science), Pennsylvania State University
เทคโนโลยีการผลิตลูกกวาดและช็อกโกแลต
รศ.ดร. สุดสาย ตรีวานิช
M.Sc.(Food Science and Technology), Kyoto University
วท.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ดร.สุดาทิพย์ แซ่ตั้น
Ph.D. (Food Science), The Pennsylvania State University
M.Sc. (Product Development), Kasetsart University
Dietary bioactive compounds
Molecular Biology
Food components for disease prevention
ดร. สุวิมล เจริญสิทธิ์
M.Sc. (Food Technology), Chulalongkorn University
B.Sc. (Biotechnology), Mahidol University
Gastrointestinal digestibility
Functional foods and nutraceuticals
Dietary bioactive compounds
Biorefinery processes
รศ.ดร. อุทัย กลิ่นเกษร
วท.บ.(อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Enrichment and encapsulation of Omega-3 Fatty Acid
Food Emulsion
ดร. วรรธินี เกตุคง
M.S. (Food Science), Kasetsart University
B.S. (Food Science and Technology), Kasetsart University
M.S. (Food Science), Kasetsart University
B.S. (Food Science and Technology), Kasetsart University
Drying technology
Food polysaccharide
Food protein
รศ.ดร. สงวนศรี เจริญเหรียญ (อาจารย์พิเศษ)
M.Sc.(Food Science and Technology), University of California, Davis
วท.บ.(เทคโนโลยีทางอาหาร) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Freezing technology of foods
Crystallization in foods
รศ.ดร. สมจิต สุรพัฒน์ (อาจารย์พิเศษ)
M.Sc.(Dairy Science), University of Reading, UK
M.S.(Agri. Chem.), University of the Philippines at Los Banõs
กส.บ. (เกียรตินิยม) (วิทยาศาสตร์การอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
รศ.ดร. สุคนธ์ชื่น ศรีงาม (อาจารย์พิเศษ)
M.S. (Food Technology), Texas A&M University
วท.บ.(เทคโนโลยีทางอาหาร) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รศ.ดร. วรรณวิบูลย์ กาญจนกุญชร (อาจารย์พิเศษ)
M.S. (Food Technology), Texas A&M University
วท.บ.(เทคโนโลยีทางอาหาร) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Egg product technology
Food Industrial Waste Utilization
ศ.ดร. อรอนงค์ นัยวิกุล (อาจารย์พิเศษ)
M.S.(Food Science), Tuskegee University
วท.บ.(วิทยาศาสตร์การอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผศ.ดร. ธนะบูลย์ สัจจาอนันตกุล (อาจารยพิเศษ)
M.S. (Food Science), University of California, Davis
Ph.D. (Food Chemistry), Cornell University
Chemistry of pectin and plant polysaccharides
Post-harvest technology
รศ.ดร. โชคชัย ธีรกุลเกียรติ (อาจารย์พิเศษ)
วท.ม.(วิทยาศาสตร์การอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.บ.(ชีวเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม.(วิทยาศาสตร์การอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.บ.(ชีวเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เจ้าหน้าที่













