The Faculty of Agro-Industry at Kasetsart University was established on 23 May 1980, though courses covering aspects of agro-industry had […]

เทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร

Your Wisdom is our Success

ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2545 สืบเนื่องจากการที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เล็งเห็นว่าความสำคัญของการสร้างผู้นำในการบริหาร จัดการ ด้านข้อมูลและนวัตกรรม ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการเติบโตของธุรกิจด้านธุรกิจอุตสาหกรรมเกษตรไทย

เป้าหมายของภาควิชา คือการสร้างบุคลากรหลังปริญญาตรี ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการ เกี่ยวกับการจัดการนวัตกรรมตลอดห่วงโซ่คุณค่าอุตสาหกรรมเกษตร ผู้เรียนจะได้ทำงานอย่างใกล้ชิดกับทุกภาควิชาในคณะอุตสาหกรรมเกษตร เพื่อเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้ากับธุรกิจ โดยมุ่งเน้นด้าน นวัตกรรม การตลาด และการดำเนินการด้วยการสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูล

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชานวัตกรรมและการจัดการอุตสาหกรรมเกษตร)

ผู้เรียนจบปริญญาตรีในสาขาที่เกี่ยวข้องที่มีความสนใจพัฒนาองค์ความรู้และทักษะด้านการทำธุรกิจอุตสาหกรรมเกษตร ซึ่งประกอบด้วย ด้าน Consumer value analysis, Excellent supply chain performance, Innovation management strategy และ Data analytics เพื่อให้สามารถส่งมอบผลิตภัณฑ์พร้อมบริการด้วย Value solution ที่ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ตลอดโซ่อุปทานอุตสาหกรรมเกษตรและอาหารอย่างแท้จริง

 

ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตร Program Learning Outcomes (PLOs)

  • PLO 1 วิเคราะห์และจัดการข้อมูลในการสร้างคุณค่าผ่านการวิเคราะห์ตลาดและผู้บริโภค จัดการการดำเนินงาน การสร้างแนวคิดนวัตกรรมและกลยุทธ์ในโซ่อุปทานเกษตรและอาหาร
  • PLO 2 ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นที่มีความแตกต่างทางแนวคิดและวัฒนธรรมในโซ่อุปทานอุตสาหกรรมเกษตรอย่างมีจรรยาบรรณได้
  • PLO 3 ประเมินประเด็นปัญหาหรือโอกาสในอุตสาหกรรมเกษตรได้
  • PLO 4 สื่อสารแนวคิดนวัตกรรมหรือแนวทางการแก้ปัญหาด้วยการพูดและเขียน ประกอบการใช้สื่อ เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ
  • PLO 5 มีทักษะผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเกษตร รับมือกับความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจได้
  • PLO 6 บูรณาการองค์ความรู้ เสนอแนวคิดนวัตกรรม เพื่อแก้ปัญหาในสถานการณ์จริง และสร้างคุณค่าในโซ่อุปทานอุตสาหกรรมเกษตร

 

จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร: 36 หน่วยกิต

 

แผนการศึกษา

  • แผน ก แบบ ก 1: สัมมนา 2 หน่วยกิต (ไม่นับหน่วยกิต), วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
  • แผน ก แบบ ก 2: วิชาเอกบังคับ 12 หน่วยกิต, วิชาเอกเลือก 10 หน่วยกิต, สัมมนา 2 หน่วยกิต, วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
  • แผน ข (ภาคพิเศษ): วิชาเอกบังคับ 12 หน่วยกิต, วิชาเอกเลือก 16 หน่วยกิต, สัมมนา 2 หน่วยกิต, การศึกษาค้นคว้าอิสระ 6 หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตรและคำอธิบายรายวิชา

หากท่านต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติม กรุณาติดต่อเราได้ที่ ait@ku.ac.th หรือ aitm.ku@gmail.com

Facebook: ait.kaset

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สาขาวิชานวัตกรรมและการจัดการอุตสาหกรรมเกษตร)

ผู้เรียนจบปริญญาโทในสาขาที่เกี่ยวข้องที่มีความสนใจรวบรวมองค์ความรู้และทักษะด้านการทำธุรกิจอุตสาหกรรมเกษตร ซึ่งประกอบด้วย ด้าน Consumer value analysis, Excellent supply chain performance, Innovation management strategy และ Data analytics เพื่อเป็นผู้เชี่ยวชาญในการส่งมอบผลิตภัณฑ์พร้อมบริการที่มีคุณค่าตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ตลอดโซ่อุปทานอุตสาหกรรมเกษตรและอาหารอย่างแท้จริง

 

ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตร Program Learning Outcomes (PLOs)

  • PLO 1 คิดเชิงวิจารณญาณ (Critical thinking) ในการวิเคราะห์และจัดการข้อมูล การจัดการดำเนินงาน การจัดการทั่วไป และการพัฒนาแนวคิดนวัตกรรมในอุตสาหกรรมเกษตร
  • PLO 2 ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นที่มีความแตกต่างกันทางวัฒนธรรม และความคิด และมีจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ
  • PLO 3 วิเคราะห์ ประเมิน คาดการณ์ วิจัยประเด็นปัญหา ข้อโต้แย้ง หรือโอกาสในอุตสาหกรรมเกษตรได้
  • PLO 4 สื่อสารด้วยการพูด และเขียน ประกอบการใช้สื่อ เทคโนโลยี เพื่อนําเสนอ วิพากษ์ และสะท้อนแนวคิด มุมมองในระดับนานาชาติ
  • PLO 5 มีภาวะผู้นํา ทำงานเชิงรุก สามารถรับมือกับข้อขัดแย้ง และสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปภายใต้ข้อจํากัดต่างๆ ได้อย่างมืออาชีพ
  • PLO 6 บูรณาการและสร้าง องค์ความรู้ แนวคิดนวัตกรรม ในศาสตร์การจัดการอุตสาหกรรมเกษตร เพื่อแก้ปัญหาในสถานการณ์จริง และสร้างคุณค่าในโซ่อุปทานอุตสาหกรรมเกษตร

 

จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร: 48 หน่วยกิต

 

แผนการศึกษา

  • แผน 1.1: วิชาเอกบังคับ 3 หน่วยกิต (ไม่นับหน่วยกิต), สัมมนา 4 หน่วยกิต (ไม่นับหน่วยกิต), วิทยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต
  • แผน 2.1: วิชาเอกบังคับ 3 หน่วยกิต, วิชาเอกบังคับ 5 หน่วยกิต, สัมมนา 4 หน่วยกิต, วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตรและคำอธิบายรายวิชา

หากท่านต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติม กรุณาติดต่อเราได้ที่ ait@ku.ac.th หรือ aitm.ku@gmail.com

Facebook: ait.kaset

คณาจารย์

รศ. ดร.รวิพิมพ์ ฉวีสุข

Agro-industrial supply chain data analytics using statistics, artificial neural network/Machine learning/Deep Learning Response surface methodology for production and R&D optimization

ผศ. ดร.อัจฉรา เกษสุวรรณ

Consumer studies & journey. Value marketing management and strategies.

ผศ. ดร.จุมพล วรสายัณห์

Data Analytics. Applied Optimization. Cost & Price Analysis. Queueing Theory.

ผศ. ดร.อภิชญา ลีลาวณิชกุล

Demand analysis. Food economics & marketing. Economics of food quality. Digital marketing & distribution

ดร.คุณาลัย พลอยดนัย

Consumer behaviors. Consumer psychology. Neuromarketing.

ดร.นันธวุฒิ ลีอมรสิริ

Strategic Management Performance management. System Mergers and Acquisitions. Organization & strategic human resource development

รศ. ดร.ปรารถนา ปรารถนาดี

Logistics and Supply Chain Management. Production Planning and Scheduling. Inventory Management. Applied Operations Research.

ดร.สุชีรา พุทธโกษา

Supply Chain Management. Production and Operations. Markov Chain Analysis.

รศ. ดร.ธนโชติ บุญวรโชติ

Financial and investment analysis. Agri-future market Market microstructure. Financial risk management. Business Plan.

ผศ. ดร.ธนิต พุทธพงษ์ศิริพร

Database/network development. Traceability system development. LP Optimization. Data mining.

ผศ. วัชรพงศ์ เลิศสุรวัฒน์

Knowledge Management. Strategic Management. International Management. Human Resource management.

ผศ. ดร.พรสิริ ชาติปรีชา

Data Science, Machine Learning, Software Design Architecture, Mobile Application Development, IOT

เจ้าหน้าที่

นายชวลิต ไมตรี

เจ้าหน้าที่บริหารงาน
สำนักงาน: ห้องธุรการ
อาคาร 5 ชั้น 4
โทร 02-562-5000 Ext. 5091

นางสาวธณิดา จินตนครชัยศรี

เจ้าหน้าที่บริหารงาน
สำนักงาน: ห้องธุรการ
อาคาร 5 ชั้น 4
โทร 02-562-5000 Ext. 5091

นางสาวนุจรี นากา

เจ้าหน้าที่บริหารงาน
สำนักงาน: ห้องธุรการ
อาคาร 5 ชั้น 4
โทร 02-562-5000 Ext. 5091

งานวิจัย

อัจฉรา เกษสุวรรณ

Factors Affecting the Elderly’s Adoption of Online Purchasing

ธนโชติ บุญวรโชติ

Noise Trading Behavior Analysis in the Stock Exchange of Thailand

อภิชญา ลีลาวณิชกุล

Drivers for continued use of a direct marketing channel: evidence from Thai farmers

ปรารถนา ปรารถนาดี

Digital Platform Assessment for the Development of Food Service Business Value Chain

หัวข้อวิจัย

Factors Affecting the Elderly’s Adoption of Online Purchasing
Noise Trading Behavior Analysis in the Stock Exchange of Thailand
Drivers for continued use of a direct marketing channel: evidence from Thai farmers
Digital Platform Assessment for the Development of Food Service Business Value Chain
The study of cold storage and temperature-controlled transportation: A case study of a chain restaurant in Thailand
โปรตีนจากพืชและส่วนผสมเชิงหน้าที่

งานวิจัยเพิ่มเติม

ข่าวสาร

ขอเชิญร่วมงานสัมมนาวิชาการในหัวข้อในหัวข้อ “Modern Rice Processing for Innovative Products”

ทุนพัฒนานิสิต คณะอุตสาหกรรมเกษตร ประจำปีการศึกษา 2567 (ทุนขาดแคลน)

Kasetsart Faculty of Agro-Industry Annual Retirement 2021