เทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ
การบรรจุคือหัวใจของทุกอุตสาหกรรม
ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ (ชื่อเดิม ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุ) เปิดสอนในหลักสูตรปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการบรรจุเป็นแห่งแรกในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2523 และยังเปิดสอนทั้งในหลักสูตรปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตตั้งแต่ปี พ.ศ.2544 และหลักสูตรปริญญาเอก ดุษฎีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการบรรจุ ในปี พ.ศ.2550 เนื่องด้วยได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของอุตสาหกรรมการบรรจุที่มีต่อคุณภาพและการตลาดของผลิตภัณฑ์ทุกประเภท กอปรกับการขยายตัวอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจประเทศ อีกทั้งความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีของโลกในปัจจุบันจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่การพัฒนาและการวิจัยด้านเทคโนโลยีการบรรจุต้องก้าวตามให้ทันเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพตามความต้องการของผู้บริโภคและตลาดมากที่สุด
โดยสาขา เทคโนโลยีการบรรจุได้บูรณาการและประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และการบริหาร เข้าด้วยกัน ภาควิชาจึงมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตเป็นผู้มีความรู้ และความสามารถในกระบวนการผลิตวัสดุบรรจุ การผลิตบรรจุภัณฑ์ ระบบการบรรจุ เครื่องจักรและ เครื่องมือทางการบรรจุการขนส่งสินค้า การออกแบบและการพิมพ์บรรจุภัณฑ์ให้สอดคล้องกับผลิตภัณฑ์และการตลาด เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปพัฒนาต่อยอด
วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) (เทคโนโลยีการบรรจุ)
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
+ นักวิชาการและนักวิจัย สาขาเทคโนโลยีการบรรจุ ทั้งในสถาบันการศึกษา หน่วยงานวิจัยและห้องปฏิบัติการ ของภาครัฐและภาคเอกชน
+ บุคลากรด้านการผลิต ด้านเทคนิค ด้านวิจัยและพัฒนา และด้านการตลาด ในอุตสาหกรรมการผลิตวัสดุและภาชนะบรรจุ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องสำอาง อุตสาหกรรมเกษตร อุตสาหกรรมขนส่ง และอุตสาหกรรมอื่นที่เกี่ยวข้อง
+ ประกอบธุรกิจส่วนตัวที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ ตั้งแต่การผลิต การออกแบบ การใช้ และการจัดการ ประกอบอาชีพอิสระที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ อาทิ นักออกแบบภาชนะบรรจุสินค้าหรือที่ปรึกษาด้านการบรรจุ [นิสิตรหัส 67 ใช้หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565]
โครงสร้างหลักสูตรและคำอธิบายรายวิชา
โครงสร้างหลักสูตรและคำอธิบายรายวิชาดาวน์โหลดรายละเอียดเพิ่มเติมได้ เว็บไซต์
*Details of scholarship for international students can be downloaded ที่นี่.
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) (เทคโนโลยีการบรรจุ)
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) (เทคโนโลยีการบรรจุ) แผน ก แบบ ก1
สอนเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และสามารถรับได้ทั้งนิสิตไทยและต่างชาติ
ผู้สมัครต้องสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีในสาขาที่เกี่ยวข้องจากสถาบันที่ได้รับการรับรอง เหมาะสำหรับผู้ที่มีประสบการณ์ในการทำงานด้านเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต ดังนี้
วิชาเอก ไม่น้อยกว่า 2 หน่วยกิต (ไม่นับหน่วยกิต)
สัมมนา 2 หน่วยกิต (ไม่นับหน่วยกิต)
วิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) (เทคโนโลยีการบรรจุ) แผน ก แบบ ก2
ผู้สมัครต้องสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีในสาขาที่เกี่ยวข้องจากสถาบันที่ได้รับการรับรอง จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต (วิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต) ดังนี้
วิชาเอก ไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต
สัมมนา 2 หน่วยกิต
วิชาเอกบังคับ 5 หน่วยกิต
วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 17 หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตรและคำอธิบายรายวิชา
โครงสร้างหลักสูตรและคำอธิบายรายวิชาดาวน์โหลดรายละเอียดเพิ่มเติมได้ เว็บไซต์
*Details of scholarship for international students can be downloaded ที่นี่.
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) (เทคโนโลยีการบรรจุ)
PH.D ()
Plan 1.1 (Program for Thai and International Students)
Applicants must have a graduate degree in related fields from an accredited university or educational institute. Applications who have working experience in packaging and materials technology are preferred. A total of 48 credits of thesis are required, as follows :
4 credits (audits)
สัมมนา 4 credits (audits)
วิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 48 credits
Total 48 credits
PH.D () PLAN 1.2
Applicants must have a bachelor’s degree in related fields from an accredited university or educational institute. Applications who have working experience in packaging and materials technology are preferred. A total of 72 credits of thesis are required, as follows :
6 credits (audits)
– Seminar 6 credits (audits)
วิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 72 credits
Total 72 credits
PH.D (PACKAGING TECHNOLOGY) PLAN 2.1
Applicants must have a graduate degree in related fields from an accredited university or educational institute. Applications who have working experience in packaging and materials technology are preferred. A total of 48 credits of graduate courses (with 36 credits of thesis) are required, as follows :
12 หน่วยกิต
– Seminar 4 credits
– Major requirements 3 credits
– Major electives 5 หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
Total 48 credits
PH.D () PLAN 2.2
(Program for Thai and International Students)
Applicants must have a bachelor’s degree in related fields from an accredited university or educational institute. A total of 72 credits of graduate courses (with 48 credits of thesis) are required, as follows :
วิชาเอก ไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต
สัมมนา 6 credits
วิชาเอกบังคับ 9 credits
วิชาเอกเลือก 9 credits
วิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 48 credits
Total 72 credits
โครงสร้างหลักสูตรและคำอธิบายรายวิชา
โครงสร้างหลักสูตรและคำอธิบายรายวิชาดาวน์โหลดรายละเอียดเพิ่มเติมได้ เว็บไซต์
*Details of scholarship for international students can be downloaded ที่นี่.
คณาจารย์

รศ. ดร.อำพร เสน่ห์
Bio-Based/Synthetic Polymer Blends and Nanocomposites

ผศ. ดร.บุศรินทร์ จงเจริญยานนท์
Safety of Food Contact Materials, Food and Cosmetics packaging

ดร.เจนณัช สดไสย์
Corporate Branding and Graphic Design, Functional Product & Packaging Design, Ceramic Design for Packaging

ผศ. ดร.เกียรติชัย วาดอักษร
Synthesis of biochemical and bioplastic, Process intensification, Migration modeling

รศ. ดร.เลอพงศ์ จารุพันธ์
Simulation Modeling for Packaging Process, Distribution Packaging, Environmentally Conscious Packaging

ศ. ดร.ณัฐดนัย หาญการสุจริต
Food Packaging, Active packaging for shelf-life extension, Edible films and capsules

ผศ. ดร.ณัฐทินี บำบัดสรรพโรค
Nano-Enabled Food Packaging and Safety, Cellulose-based nanocomposite, Cellulose Nanocrystal

ศ ดร.ภาณุวัฒน์ สรรพกุล
Active and Intelligent Packaging, Edible Films and Coatings

รศ. ดร.ภัทรินทร์ ลีลาภิวัฒน์
Packaging for Fresh Fruits and Vegetables, Food Packaging, Mass transfer in polymers of Packaging Materials

รศ.ดร.ปิยะวณี จริยะสกุลโรจน์
Biodegradable plastics for packaging and agriculture uses, Bio-composites from agricultural waste

รศ. ดร.รังรอง ยกส้าน
Biopolymers and Bio-Based Materials, Bioplastics and Composites, Nanoparticles and Nanocapsules

รศ. ดร.ธาริณี นามพิชญ์
Rubber Technology, Polymer Blends, Nanocomposite Materials

รศ. ดร.ธัญญารัตน์ จิญกาญจน์
Coating Technology for Paper and Paperboard Packaging, Packaging Process and Machinery

ดร.อุรุชยา สนแจ้ง
Mass transfer in biodegradable films, Thermo-mechanical analysis of biodegradable materials

รศ. ดร.วาณี ชนเห็นชอบ
Food packaging, Active packaging for fresh produce, Distribution packaging

ดร.ฐิติพร แก้วเพ็ชร
Physics in packaging materials, Coating in packaging
เจ้าหน้าที่

กิตติชัย ตันสิน
นักวิทยาศาสตร์ (ชำนาญการ)
สำนักงาน: อาคาร อก. 5 ชั้น 7 ห้อง 5709
โทร 02-562-5045 Ext. 5388
ธีรุตม์ ฤทธิสนธิ์
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป (ชำนาญการ)
สำนักงาน: อาคาร อก. 5 ชั้น 6 ห้อง 5601 ห้องธุรการ
โทร 02-562-5045
ธารทิพย์ สาระเกตุ
นักวิทยาศาสตร์ (ชำนาญการ)
สำนักงาน: อาคาร อก. 5 ชั้น 6 ห้อง 5628
โทร 02-562-5045 Ext. 5628
วาสนา แตงอ่อน
ผู้ปฏิบัติงานบริหาร (ชำนาญงาน)
สำนักงาน: อาคาร อก. 5 ชั้น 6 ห้อง 5601 ห้องธุรการ
โทร 02-562-5045 Ext. 5282
วาราดา จินดาอินทร์
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป (ชำนาญการ)
สำนักงาน: อาคาร อก. 5 ชั้น 6 ห้อง 5601 ห้องธุรการ
โทร 02-562-5045